ดอกเบี้ยทบต้น เป็นสิ่งที่มีพลังอำนาจมาก โดยสามารถทำให้เราไม่ต้องทำงานก็ได้ถ้าเราสามารถหาผลตอบแทนได้ ซึ่งวิธีคำนวณก็มีดังตัวอย่างนี้
ตัวอย่าง
สมมุติ มีเงินอยู่ 100 บาท ฝากเงินได้ดอกเบี้ย 1% เมื่อสิ้นปีจะได้เงิน 101 บาท
วิธีคำนวณ 100*1.01 = 101 บาท
ปี่ที่1 เมื่อสิ้นปีได้ดอกเบี้ย 1 บาท
วิธีคำนวณ 101*1.01 = 102.01 บาท
ปีที่2 เมื่อสิ้นปีได้ดอกเบี้ย 1.01 บาท
รวมสองปี ดอกเบี้ย 2.01 บาท
วิธีคำนวณ 102.01*1.01 = 103.0301 บาท
ปีที่3 เมื่อสิ้นปีได้ดอกเบี้ย 1.0201 บาท
รวมสองปี ดอกเบี้ย 3.0301 บาท
สรุปสมมุติถ้าเราต้องการรู้ดอกเบี้ยทบต้นกี่ปี ก็เขียนเอาดอกเบี้ยคูณไปเท่านั้น เช่น เราอยากรู้ดอกเบี้ยทบต้น 5 ปี ก็ใช้วิธีดังนี้ครับ
= 100*(1.01)*(1.01)*(1.01)*(1.01)*(1.01)
คำตอบก็คือ 105.10 ครับ
ซึ่งตามหลักคณิตศาสตร์ X*X เท่ากับ X^2 ( X ยกกำลัง2)
ดังนั้น จากสมการ 100*(1.01)*(1.01)*(1.01)*(1.01)*(1.01) เราสามารถลดรูปได้ดังนี้
100*(1.01)^5 *** ( 1.01 ยกกำลัง5)
เราสามารถสรุปเป็น สูตรได้ว่า
เงินต้น * (1*อัตราดอกเบี้ย%)^จำนวนปี
ลองไปคำนวณหาดูนะครับ น่าจะเป็นประโยชน์ต่อชีวิตนะครับ
ตัวอย่าง
สมมุติ มีเงินอยู่ 100 บาท ฝากเงินได้ดอกเบี้ย 1% เมื่อสิ้นปีจะได้เงิน 101 บาท
วิธีคำนวณ 100*1.01 = 101 บาท
ปี่ที่1 เมื่อสิ้นปีได้ดอกเบี้ย 1 บาท
วิธีคำนวณ 101*1.01 = 102.01 บาท
ปีที่2 เมื่อสิ้นปีได้ดอกเบี้ย 1.01 บาท
รวมสองปี ดอกเบี้ย 2.01 บาท
วิธีคำนวณ 102.01*1.01 = 103.0301 บาท
ปีที่3 เมื่อสิ้นปีได้ดอกเบี้ย 1.0201 บาท
รวมสองปี ดอกเบี้ย 3.0301 บาท
สรุปสมมุติถ้าเราต้องการรู้ดอกเบี้ยทบต้นกี่ปี ก็เขียนเอาดอกเบี้ยคูณไปเท่านั้น เช่น เราอยากรู้ดอกเบี้ยทบต้น 5 ปี ก็ใช้วิธีดังนี้ครับ
= 100*(1.01)*(1.01)*(1.01)*(1.01)*(1.01)
คำตอบก็คือ 105.10 ครับ
ซึ่งตามหลักคณิตศาสตร์ X*X เท่ากับ X^2 ( X ยกกำลัง2)
ดังนั้น จากสมการ 100*(1.01)*(1.01)*(1.01)*(1.01)*(1.01) เราสามารถลดรูปได้ดังนี้
100*(1.01)^5 *** ( 1.01 ยกกำลัง5)
เราสามารถสรุปเป็น สูตรได้ว่า
เงินต้น * (1*อัตราดอกเบี้ย%)^จำนวนปี
ลองไปคำนวณหาดูนะครับ น่าจะเป็นประโยชน์ต่อชีวิตนะครับ